ศูนย์ความรู้ด้านการเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ได้พัฒนาขึ้นเพื่อเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงครองสิริราชสมบัติครบ 60 ปี โดยให้บริการความรู้ในสาขาวิชาเกษตรและสาขาที่เกี่ยวข้อง ซึ่งเป็นการขยายการให้บริการสารสนเทศด้านการเกษตรจากฐานความรู้ที่ศูนย์สนเทศทางการเกษตรแห่งชาติและศูนย์สนเทศทางกระบือนานาชาติได้มีการพัฒนาสั่งสมมาอย่างต่อเนื่องยาวนานโดยนำแนวคิดในการจัดการความรู้ร่วมกับการนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาประยุกต์ใช้ผสมผสานกับการนำแนวคิดห้องสมุดด้านการเกษตรมีชีวิตมาใช้ในการจัดพื้นที่และสภาพแวดล้อมภายในศูนย์ฯ ส่งเสริมให้มีการเรียนรู้ แลกเปลี่ยนความรู้ ประสานงานกับหน่วยงานต่าง ๆ และจัดกิจกรรมเพื่อเผยแพร่ความรู้ด้านการเกษตรให้เป็นที่กว้างขวางมากขึ้นและเพิ่มขีดความสามารถในการบริหารจัดการและการให้บริการสารสนเทศด้านการเกษตร เพื่อสนับสนุนการเรียน การสอน การวิจัย และการให้บริการวิชาการแก่สังคม
ข่าวสาร
1. 📒 แนะนำ E-Book 📒เรื่อง : คู่มือการผลิตไม้ประดับและไม้ตัดใบเพื่อการค้า
🎯 ผู้แต่ง: เมธี มานะพงศ์, โอฬาร พิทักษ์, สุทนต์ ขำบุญเกิด🎯 หน่วยงานผู้แต่ง: กรมส่งเสริมการเกษตร กองส่งเสริมพืชพันธุ์ กลุ่มพืชสวน งานไม้ดอกไม้ประดับมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ สำนักส่งเสริมและฝึกอบรม (จัดทำเอกสารอิเล็กทรอนิกส์)🎯 จำนวนหน้า: 46 หน้า📒 อ่าน E-Book เรื่องนี้ ได้ที่ https://ebook.lib.ku.ac. ...
อ่านต่อ วันที่ 3 เมษายน 25682. ข้าวอัลฟาไรซ์ : ทางเลือกของอาหารฉุกเฉินที่พร้อมรับมือทุกสถานการณ์
🍚ข้าวอัลฟาไรซ์ ทางเลือกของอาหารฉุกเฉินที่พร้อมรับมือทุกสถานการณ์ เมื่อเกิดสถานการณ์วิกฤต เช่น แผ่นดินไหว น้ำท่วม หรือไฟฟ้าดับ การเข้าถึงอาหารปรุงสดอาจทำได้ยาก การเตรียม “อาหารฉุกเฉิน” ที่สามารถบริโภคได้ทันทีจึงเป็นแนวทางสำคัญในการเสริมความมั่นคงด้านอาหารในภาวะไม่ปกติ⚡อาหารฉุกเฉินคืออะไรอาหารฉุกเฉ ...
อ่านต่อ วันที่ 3 เมษายน 25683. ครม. เห็นชอบให้วันที่ 18 มกราคมของทุกปีเป็น "วันกล้วยไม้แห่งชาติ" ตอกย้ำไทยเป็นผู้นำส่งออกกล้วยไม้โลก
ศ.ดร.นฤมล ภิญโญสินวัฒน์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เปิดเผยว่า คณะรัฐมนตรีมีมติให้วันที่ 18 มกราคมของทุกปี เป็น "วันกล้วยไม้แห่งชาติ" โดยไม่ถือเป็นวันหยุดราชการ เพื่อให้ประชาชนตระหนักถึงความสำคัญของกล้วยไม้ไทย และภาคภูมิใจในเอกลักษณ์ของชาติ ซึ่งประเทศไทยเป็นผู้นำการผลิตและส่งออกกล้วยไม้เขตร้ ...
อ่านต่อ วันที่ 3 เมษายน 25684. นักวิจัย ม.เชียงใหม่ เพิ่มผลผลิตวาซาบิด้วยแสง LED
เพิ่มผลผลิตวาซาบิด้วยแสง LED! การจัดการแสงที่เหมาะสมช่วยให้วาซาบิเจริญเติบโตได้ดียิ่งขึ้น** วาซาบิ (Wasabi) เป็นพืชเศรษฐกิจที่ต้องการสภาวะแสงที่เหมาะสมเพื่อเพิ่มคุณภาพและผลผลิต งานวิจัยล่าสุดพบว่า **ความเข้มแสงที่สูงขึ้น (140 µmol m⁻²s⁻¹) และการใช้แสงแดงร่วมกับแสงขาว** สามารถเพิ่มปริมาณไบโอแมสและสา ...
อ่านต่อ วันที่ 1 เมษายน 25685. แบตเตอรี่รักษ์โลกจากเห็ด
นักวิจัยชาวสวิสได้พัฒนาแบตเตอรี่ที่ใช้เห็ดเป็นแหล่งพลังงาน โดยแบตเตอรี่นี้จะเริ่มทำงานก็ต่อเมื่อมีการเติมน้ำและสารอาหารลงไป แม้จะไม่สามารถผลิตไฟฟ้าได้มากนัก (ประมาณ 300 ถึง 600 mV) แต่ก็เพียงพอที่จะจ่ายไฟให้กับเซ็นเซอร์ที่ใช้ในงานวิจัยด้านเกษตรและสิ่งแวดล้อมในพื้นที่ห่างไกล เช่น การตรวจวัดอุณหภูมิ ร ...
อ่านต่อ วันที่ 1 เมษายน 25686. ด้วงงวงดอกปาล์มน้ำมัน : แมลงมีประโยชน์ในสวนปาล์มน้ำมัน
ด้วงงวงดอกปาล์มน้ำมัน (Elaeidobius kamerunicus) เป็นแมลงที่มีบทบาทสำคัญในกระบวนการผสมเกสรของปาล์มน้ำมัน ซึ่งช่วยลดความจำเป็นในการใช้แรงงานคนและลดค่าใช้จ่ายในการผสมเกสรพฤติกรรมและการดำรงชีวิตด้วงงวงดอกปาล์มน้ำมันดำรงชีวิตและขยายพันธุ์บนช่อดอกตัวผู้ของปาล์มน้ำมัน โดยอาหารหลักของด้วงงวงคือช่อดอกตัวผู้ ...
อ่านต่อ วันที่ 1 เมษายน 25687. สถานีวิจัยปากช่องเปิดจองพันธุ์ไม้ผล ประจำเดือนเมษายน 2568
สถานีวิจัยปากช่อง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เปิดให้จองพันธุ์ไม้ผล ประจำเดือนเมษายน 2568 ช่องทางการสั่งซื้อ โทร. 09 0237 9160 (ช่องทางเดียว) เวลา 09.00-16.00 น.หมายเหตุ- ไม่มีบริการจัดส่งทางไปรษณีย์ ต้องมารับด้วยตัวเองภายในเดือนที่สั่งซื้อ- หากไม่มารับภายในเดือนที่จอง จะถือว่าสละสิทธิ์สถานที ...
อ่านต่อ วันที่ 1 เมษายน 25688. ถอดรหัสกรานมอนเต้: สมาร์ทฟาร์มไวน์ไทยที่ก้าวไกลระดับสากล
การปลูกองุ่นทำไวน์ด้วยระบบสมาร์ทฟาร์มประเทศไทยมีศักยภาพในการปลูกองุ่นทำไวน์ โดยเฉพาะพื้นที่ที่มีสภาพอากาศเย็นและดินเหมาะสม เช่น เขาใหญ่ ซึ่งเป็นที่ตั้งของไร่องุ่น *GranMonte Vineyard and Winery* หนึ่งในผู้นำด้านการปลูกองุ่นทำไวน์ด้วยระบบสมาร์ทฟาร์ม เทคโนโลยีนี้ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพ ลดต้นทุน และยกระดั ...
อ่านต่อ วันที่ 28 มีนาคม 2568แจ้งเตือน
1. แมลงศัตรูพืชและโรคพืชที่มักระบาดในฤดูร้อน
ฤดูร้อนเป็นช่วงที่อุณหภูมิสูงและความชื้นต่ำ เอื้อต่อการเจริญเติบโตของศัตรูพืช รวมถึงการแพร่ระบาดของโรคพืชหลายชนิด การทำความเข้าใจเกี่ยวกับชนิดของศัตรูพืชและโรคพืชที่ระบาดในช่วงนี้ รวมถึงแนวทางป้องกันและควบคุมที่เหมาะสม จะช่วยลดความเสียหายและเพิ่มผลผลิตทางการเกษตรได้อย่างมีประสิทธิภาพศัตรูพืชที่ระบา ...
อ่านต่อ วันที่ 28 มีนาคม 25682. ระวังการเข้าทำลายของเพลี้ยไฟในทุเรียน
สภาพอากาศที่ร้อนแล้งจะมีการระบาดของเพลี้ยไฟรุนแรง เข้าทำลายใบอ่อน ดอก และผลอ่อนทุเรียนให้เสียหาย เกษตรกรควรหมั่นสำรวจและรีบทำการป้องกันกำจัดให้ทันท่วงทีเพื่อลดความเสียหายการป้องกันกำจัด- การควบคุมด้วยสารเคมีกลุ่มต่างๆ เช่น กลุ่ม 1 คาร์โบซัลแฟน / คาบาริล กลุ่ม 2 พิโพรนิล กลุ่ม 4 อิมิดาโคลพริด / อะเ ...
อ่านต่อ วันที่ 27 มีนาคม 25684. ระวังเพลี้ยแป้งในน้อยหน่า ศัตรูร้ายที่ต้องควบคุม
ลักษณะการทำลายเพลี้ยแป้งดูดกินน้ำเลี้ยงจากใบ ยอดอ่อน ช่อดอก และผล เมื่อระบาดรุนแรงจะทำให้พืชเหี่ยวแห้งและผลเสียคุณภาพ เพลี้ยแป้งยังถ่ายมูลเป็นน้ำหวาน ซึ่งเป็นสาเหตุของราดำ ส่งผลกระทบต่อคุณภาพผลผลิต เพลี้ยแป้งสามารถเคลื่อนย้ายจากพื้นดินขึ้นต้นน้อยหน่าตั้งแต่ระยะออกดอกจนถึงผลแก่ โดยมีมดเป็นพาหะช่วยแพร ...
อ่านต่อ วันที่ 26 มีนาคม 2568